วงจรควบคุมการเริ่มเดินแบบ STAR-DELTA และการทำงานของวงจรควบคุม / Control circuit start-up and operation of the STAR-DELTA circuit.

วงจรควบคุมการเริ่มเดินแบบ STAR-DELTA และการทำงานของวงจรควบคุม

Control circuit start-up and operation of the STAR-DELTA circuit.

จากรูป เป็นวงจรควบคุมสั่งงานแมกนีติกส์ จ่ายไฟปั้มแบบเริ่มเดิน สตารท์ STAR-DELTA
K1 เป็นเมนจ่ายไฟปั้ม เริ่มเดินช่วงแรกทำงานพร้อมแมกเนติกส์ K2 เป็นชุดที่ต่อวงจรกำลังแบบ STAR เมื่อไฟจ่ายเข้า T1 จะเริ่มนับเวลา8-15 วินาที T1 จะตัดไฟจ่าย K2 ไปจ่ายคอยล์ แมก K3 ซึ่งต่อวงจรกำลังเป็น DELTA  ส่วน T1 24 Hr  นาฬิกาตั้งเวลาแบบ 24 ชั่วโมงสั่งงานให้ปั้มทำงานในช่วงเวลาที่ต้องการ เช่น ทำงาน 8.00 น. ถึง 18.00 น เป็นต้น



       ตัวอย่างวงจรกำลังเทียบกับวงจรควบคุมข้างบน เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นและแสดงการทำงานได้ถูกต้อง การทำงานวงจรถึงไม่ยุ่งยากแต่ก็มีหลายๆคนไม่เข้าใจการทำงานแบบเป็นลำดับขั้น การศึกษาการทำงานให้เข้าใจก็จะทำให้สามารถอธิบายหรือปรับปรุงวงจรที่ดีขึ้นและทำงานได้ตามข้อเงื่อนไขต่างๆ ที่ต้องการออกแบบได้ทุกกรณี 




............................................................................................................................................................

Command from the control to circuit magnetic contactor. Start the pump power Start's "STAR-DELTA". K1 is the main power supply go to the pump. From the early work with magnetic contactor circuits are connected in series, K2 is called "STAR" type on power from T1 and  after the 8-15 time to cut  line power to coil K2 and switching to coil K3  is the "DELTA" type. Timer 24-hour type operation to pump at work, such as the 8.00 pm to 18.00, etc.



เรียนออกแบบไฟฟ้าอาคารแบบออนไลน์    เรียนเขียนแบบไฟฟ้าออนไลน์  เรียนออกแบบตู้ควบคุมไฟฟ้าออนไลน์ ได้ที่นี่ วิศวกรไฟฟ้า ช่างไฟฟ้า

เขียนแบบไฟฟ้าสำหรับพักอาศัยอาคาร
การสอนการเริ่มการเขียนแบบจากการเขียนโปรแกรม Auto cad ครับด้านงานสร้างสรรค์งานไฟฟ้าต่างๆ ของช่างไฟฟ้า วิศวกรไฟฟ้า ไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าควบคุม PLC 
   การการเขียนแบบระบบเดินสายไฟจากตู้ไฟ จากเริ่มต้นเลยครับมาฝึกการเขียนแบบงานเดินสายไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าแสงสว่าง  เพื่อปูพื้นฐานการประกอบและการออกแบบไฟฟ้าครับ

   การลอกแบบอุปกณ์ไฟฟ้า เบรกเกอร์ ฟิวส์ ตู้โหลด ในบ้าน ทำอย่างไร  คลิกที่นี่
   การใช้งานคำสั่งในส่วนนี้ ทิปเทคนิคในการเขียนโปรแกรมทำอย่างไร
   เขียนแบบไฟฟ้าสำหรับพักอาศัยอาคาร  คลิกที่นี่ 

ในการออกแบบไฟฟ้านั้น แยกส่วนการออกแบบและการเขียนแบบจากกันก่อนนะครับ เพราะสมาชิกท่านไหนที่ออกแบบเก่งแล้วอาจจะสนใจแค่วิธีการเขียนอย่างเดียว
 และส่วนสามาชิกท่านไดที่เขียนแบบเป็นก็อาจจะสนใจการวางแผนและคำนวนอย่างเดียว
ส่วนสมาชิก น้องๆที่ไม่เคยทำๆไม่เป็นอยากจะเรียนรู้การเขียนแบบไฟฟ้าและการออกแบบไฟฟ้าอาคาร
เริ่มเรียนได้เลยครับ ผมมีคลิปหลายระดับความยากให้ท่านได้ทำตามครับ
    ******* เรียนออกแบบไฟฟ้าอาคารแบบออนไลน์ได้  คลิกที่นี่

สนใจสมัครติดตามคลิปสอนออนไลน์ที่ Youtube ได้ครับ คลิกที่นี่Chaiveewan Chanal ครับ   กดติดตาม+กดกระดิ่งได้ครับ

สอนออนไลน์ เขียนแบบไฟฟ้าในบ้าน 
สอนออนไลน์ เขียนแบบไฟฟ้าทาวน์เฮาส์ 2 ชั้น หมู่บ้าน
สอนออนไลน์ เขียนแบบไฟฟ้าในอาคาร 
สอนออนไลน์ เขียนแบบไฟฟ้าอาคารขนาดกลาง 7 ชั้น
สอนออนไลน์ เขียนแบบไฟฟ้าระบบควบคุมตู้ไฟควบคุม


บทเรียน
*********ในคลิปจะสอนท่านสามาชิกจากเริ่มต้น

 ******** การเขียนปูพื้นฐานการเขียนแบบด้านไฟฟ้าทั้งไฟฟ้ากำลัง และไฟฟ้าควบคุม งานไฟฟ้าควบคุมแสงสว่างต่างๆ การใช้อุปกรณ์ควบคุมบอร์ดไฟ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บทเรียน แบบฝึกหัดสอนเขียนตู้ควบคุมไฟฟ้า AUTO CAD ด้วยการใช้ระบบควบคุม ชุดที่ 2

บทเรียน Auto cad งานเขียนแบบไฟฟ้า

บทเรียน แบบฝึกหัดเขียนแบบตู้ควบคุม ด้วยAuto Cad สำหรับใช้เป็นแบบฝึกเขียน ชุดที่ 3