การเขียนแบบร่าง วางระบบ กำลงและระบบควบคุบไฟฟ้า

การเขียนแบบร่าง วางระบบ กำลงและระบบควบคุบไฟฟ้า
    

          เมื่อออกแบบเรียบร้อย งานต่อไปคือการเขียนแบบวงระบบทั้งส่วนไฟฟ้ากำลัง และ ไฟฟ้าส่วนควบคุม ผู้ออกแบบที่ดีต้องสามารถถ่ายทอดงานที่ตนออกแบบให้ช่างเทคนิดหน้างานอ่านแบบแล้วเข้าใจง่าย สามารถทำงานได้ไม่ผิดพลาด 
          โปเแกรมที่ใช้ในการเขียนมีหลากหลายโปรแกรมตามพิจารณาเลือกใช้งาน ผู้ออกแบบหลายคนมักออกแบบแต่ไม่ได้เป็นคนเขียนแบบเอง ซึ่งหลากไม่ตรวจทานแบบก่อนมักมีข้อผิดพลาดส่วนผู้ออกแบบที่เขียนแบบเองจะถ่ายทอดได้ดีเข้าใจง่ายกว่าสามารถแก้ไข และปับเปลี่ยนส่วนที่ต้องแก้ไขได้ดี
         แต่ทั้งนี้มันขึ้นอยู่กับการฝึกฝนจนชำนาญเจอหลากหลายเงื่อนไข ข้อปัญหาทำให้สามารถมองเห็นปัญหาที่จะเกิดและหลีกเลี่ยงเพื่อไม่ให้แบบที่ออกมาใช้งานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ
        ในการเขียนแบบผู้เขียนแบบต้องฝึกการเขียนและการใช้งานสัญลักษณ์ ทั้งสัญลักษณ์งานไฟฟ้า  สัญลักษณ์งานก่อสร้าง สัญลักษณ์งานเครื่องกล และอื่นๆ เพื่อให้เกิดความชำนาญ ทั้งการอ่าน การปรับเปลี่ยนและการแปรความหมายให้ถูกต้องและสือสารไปยังผู้ใช้แบบดังกล่าวได้ไม่ผิดเพี้ยน
        สัญลักษณ์ในการเขียนแบบ มีมาตรฐานที่ใช้งานกันทั่วๆไป คือจาก DIN,JIS,TIS หรือ มาตรฐานของ วสท. สามารถหาซื้อหาแต่ละส่วนงานมาดูได้  และเหล่าวิศวกรใช้งานกัน อ้างถึงกันทั่วไป อีกทั่งอาจมาจากข้อกำหนดของแต่ละโครงการที่จะเขียนแบบก็ได้  (แต่ให้ดีควรไปในทิศทางเดียวกันครับเพราะมันจะงง)

ความคิดเห็น

  1. การออกแบบที่ดีต้องฝึกเขียนด้วยตนเองถ้าเราสามารถเข้าใจได้ง่ายทดลองให้คนอื่นๆดูและรับฟังข้อคิดเห็นจุดแก้ไข จุดเพิ่มเติมนะครับ

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บทเรียน แบบฝึกหัดสอนเขียนตู้ควบคุมไฟฟ้า AUTO CAD ด้วยการใช้ระบบควบคุม ชุดที่ 2

บทเรียน Auto cad งานเขียนแบบไฟฟ้า

บทเรียน แบบฝึกหัดเขียนแบบตู้ควบคุม ด้วยAuto Cad สำหรับใช้เป็นแบบฝึกเขียน ชุดที่ 3