การเริ่มเดินมอเตอร์แบบ Star-Delta และข้อเงื่อนไข / Star-Delta motor starting and conditions.

การเริ่มเดินมอเตอร์แบบ Star-Delta  และข้อเงื่อนไข

Star-Delta motor starting and conditions.

 

                                          รูปวงจรภาคกำลังของมอเตอร์ 3 เฟส

      ทั่วไปแล้วการควบคุมมอเตอร์ทำได้ หลายแบบวันนี้เอาวงจร เริ่มเดินแบบ Star-Delta มาทำความเข้าใจกัน ครับ ช่างไฟฟ้าหลายๆคนไม่ทราบด้วยซ้ำไปว่ามอเตอร์ 3 เฟสที่สามารถนำมาต่อแบบ Star-Delta  ได้น้ันต้องมีอะไรที่ระบุบอกไว้ที่ป้ายมอเตอร์บ้าง  เรามาวิเคราะห์ระบบดั้งกล่าวกัน
   สิ่งแรกที่เรารู้คือไฟเมื่องไทย 3 เฟส คือ 380VAC Line to Line และ 220VAC Line to N ดังนั้นค่าแรงดันดังกล่าวเป็นตัวที่จะบอกว่าเรานำมอเตอร์ตัวใดมาต่อได้บ้างครับ
   มาดูกัน มอเตอร์ที่บอกระดับแรงดันไฟฟ้า ของมอเตอร์ 3 เฟส มักบอกมา 1 หรือ 2 ค่า มาดูตัวอย่างกัน มอเตอร์ตัวหนึ่งให้ค่าแรงดันมา 380-400Vac อย่างนี้บอกได้เลยว่าต่อแบบ Star-Delta ไม่ได้นะครับต้องเริ่มเดินมอเตอร์วิธีโดยตรงสถานเดียวครับ  , อีกตัวหนึ่งระบุให้ค่าแรงดันมา 220-380Vac เอาละตัวนี้ครับว่าอย่างไร จากแรงดันดังกล่าวเราต้องแยกค่าแรงดันออกมาเป็น 2 ค่าครับ ค่าแรกเรียกว่า การต่อสายแรงดันต่ำ LOW Volts และ อีกค่าเรียกว่าการต่อสายแรงดันสูง High Volts ทั้งสองค่าที่ว่ามาต่างกันอย่างไร เรามาวิเคาะห์วงจรไฟแบบเดลต้าก่อนนะครับการต่อดังกล่าวจะมีระดับแรงดันที่ตกคร่อมขดลวดมอเตอร์ ชุดเฟส  A,B และ A,C เท่ากันคือ เท่ากับไฟที่จ่ายไปดังนั้นเราจ่ายไฟ 380VAC Line to Line ของเมืองไทยไปครับ จะเห็นว่า ตัวนี้ระบุให้ค่าแรงดันมา 220-380Vac ต่อไม่ได้ครับเพราะตัวนี้ High ต่อ 380V ตอน Low ต่อ 220V ถ้าเราจ่ายไฟเมืองไทย 380V จะเห็นว่าตอน Low Volts (หรือต่อเดลต้า) เราจะจ่ายไฟให้มอเอร์เกินที่มันรับได้ ดังนั้นสรูปอย่างนี้ครับว่ามอเตอร์ที่เริ่มหมุนแบบ Star-Delta จะใช้ได้กับมอเตอร์ที่ระบุแรงดันประมาณนี้ครับ ตัวอย่างเช่น 380(เดลต้า)-600Vac(สตาร์) ,400(เดลต้า)-640Vac(สตาร์) ,400(เดลต้า)-660Vac(สตาร์) สังเกตง่ายๆครับ คือแรงดันที่ระบุมาให้ที่แรงดันต่ำ(เดลต้า)เป็น 380,400Vac ก็ใช้ได้ครับจะสังเกตค่าแรงดันต่ำเป็นหลักให้เป็นค่า 380V ตรงกับไฟฟ้าบ้านเราไงครับ  ส่วนแรงดันด้านสูงก็มักจะเป็น 640V หรือ 660V ซึ่งแรงดันนี้จะเป็นการต่อแบบ สตาร์ เมื่อเราจ่ายแรงดันตอนเริ่มเดินมอเตอร์ที่มีแค่ 380V ของไฟบ้านเราเข้าไปช่วงสตาร์ท  แรงดันต่ำกว่าค่าที่กำหนดกระแสก็ต่ำลงมาด้วยครับ จากทั้งหมดนี้ เราสามารถต่อเริ่มเดินแบบ Star-Delta ได้ครับ
    แต่ไม่ใช่ว่าเราต้องต่อมอเตอร์ดังข้างต้นทุกตัวที่เห็นว่าต่อได้ครับเราจะต่อเฉพาะมอเตอร์ตัวที่มีแรงม้าสูง กระแสเริ่มเดินของมอเตอร์ดังกล่าวจะสูงมาก เราจึงเอาวิธีการ  เริ่มเดินแบบ Star-Delta เข้ามาลดกระแสเริ่มเดินนั้นเอง

.................................................................................................................................
Generally for Thailand , the moter control circuit several type of this today  starting with Star-Delta type to understand my job many people do not know with that moter 3 phase, which can lead to a Star-Delta can support you have given to them.  We analyze such a system.

  
The first thing we know is that the third phase is when Thailand power line for 380VAC Line to Line Voltage 220VAC Line to N, so that is to say that the motor does not can or cannot to made it.

  See that the motor voltage 3 phase motors usually have a one or two for the example. Motors one for voltage from 380-400Vac also say that the traditional Star-Delta can not start the moter to the name place that it, as a specified voltage is 220-380Vac So this post  I do. Voltage  we need to separate out the two on the first call. "LOW Volts" low voltage wiring  and "High Volts"  high voltage  ​​that are different, however.
 


 We come in analyze circuit in the "Delta" before I continue,    it will have a voltage drop at the motor winding of phase A, B and A,C are equal is to the power supply, so we supply 380VAC Line to Line. Thailand to see that assigned to the moter 220-380Vac voltage is used not it. The form of this is "Star-Delta" moter starting rotation for the moter voltage. Example 380-600Vac ,400-640Vac ,400-660Vac you noticed it. Is the voltage to the voltage as low as 380,400 Vac, it seems we can start with Star-Delta.


เรียนออกแบบไฟฟ้าอาคารแบบออนไลน์    เรียนเขียนแบบไฟฟ้าออนไลน์  เรียนออกแบบตู้ควบคุมไฟฟ้าออนไลน์ ได้ที่นี่ วิศวกรไฟฟ้า ช่างไฟฟ้า

เขียนแบบไฟฟ้าสำหรับพักอาศัยอาคาร
การสอนการเริ่มการเขียนแบบจากการเขียนโปรแกรม Auto cad ครับด้านงานสร้างสรรค์งานไฟฟ้าต่างๆ ของช่างไฟฟ้า วิศวกรไฟฟ้า ไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าควบคุม PLC 
   การการเขียนแบบระบบเดินสายไฟจากตู้ไฟ จากเริ่มต้นเลยครับมาฝึกการเขียนแบบงานเดินสายไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าแสงสว่าง  เพื่อปูพื้นฐานการประกอบและการออกแบบไฟฟ้าครับ

   การลอกแบบอุปกณ์ไฟฟ้า เบรกเกอร์ ฟิวส์ ตู้โหลด ในบ้าน ทำอย่างไร  คลิกที่นี่
   การใช้งานคำสั่งในส่วนนี้ ทิปเทคนิคในการเขียนโปรแกรมทำอย่างไร
   เขียนแบบไฟฟ้าสำหรับพักอาศัยอาคาร  คลิกที่นี่ 

ในการออกแบบไฟฟ้านั้น แยกส่วนการออกแบบและการเขียนแบบจากกันก่อนนะครับ เพราะสมาชิกท่านไหนที่ออกแบบเก่งแล้วอาจจะสนใจแค่วิธีการเขียนอย่างเดียว
 และส่วนสามาชิกท่านไดที่เขียนแบบเป็นก็อาจจะสนใจการวางแผนและคำนวนอย่างเดียว
ส่วนสมาชิก น้องๆที่ไม่เคยทำๆไม่เป็นอยากจะเรียนรู้การเขียนแบบไฟฟ้าและการออกแบบไฟฟ้าอาคาร
เริ่มเรียนได้เลยครับ ผมมีคลิปหลายระดับความยากให้ท่านได้ทำตามครับ
    ******* เรียนออกแบบไฟฟ้าอาคารแบบออนไลน์ได้  คลิกที่นี่

สนใจสมัครติดตามคลิปสอนออนไลน์ที่ Youtube ได้ครับ คลิกที่นี่Chaiveewan Chanal ครับ   กดติดตาม+กดกระดิ่งได้ครับ

สอนออนไลน์ เขียนแบบไฟฟ้าในบ้าน 
สอนออนไลน์ เขียนแบบไฟฟ้าทาวน์เฮาส์ 2 ชั้น หมู่บ้าน
สอนออนไลน์ เขียนแบบไฟฟ้าในอาคาร 
สอนออนไลน์ เขียนแบบไฟฟ้าอาคารขนาดกลาง 7 ชั้น
สอนออนไลน์ เขียนแบบไฟฟ้าระบบควบคุมตู้ไฟควบคุม


บทเรียน
*********ในคลิปจะสอนท่านสามาชิกจากเริ่มต้น
 ******** การเขียนปูพื้นฐานการเขียนแบบด้านไฟฟ้าทั้งไฟฟ้ากำลัง และไฟฟ้าควบคุม งานไฟฟ้าควบคุมแสงสว่างต่างๆ การใช้อุปกรณ์ควบคุมบอร์ดไฟ

ความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บทเรียน แบบฝึกหัดสอนเขียนตู้ควบคุมไฟฟ้า AUTO CAD ด้วยการใช้ระบบควบคุม ชุดที่ 2

บทเรียน Auto cad งานเขียนแบบไฟฟ้า

บทเรียน แบบฝึกหัดเขียนแบบตู้ควบคุม ด้วยAuto Cad สำหรับใช้เป็นแบบฝึกเขียน ชุดที่ 3