บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2012

การออกแบบวงจรควบคุมงาน น้ำพุดนตรี (Design of controlled musical fountain)

รูปภาพ
  การออกแบบวงจรควบคุมงาน น้ำพุดนตรี  " Water   entertainment " (Design of controlled musical fountain) " Water   entertainment "      การออกแบบระบบ น้ำพุดนตรี " Water   entertainment " เป็นการประยุกต์งาน Sound engineers เข้ามาใช้ในงานน้ำพุที่ควบคุมการเปิด-ปิดวาวล์ น้ำพุอุปกรณืที่ใช้ในงานลักษณะนี้มีความเฉพาะและราคาสูงมาก ใช้ในงานควบคุมเวที ,แสง, สี ,เสียง,  การโปรแกรมการเล่นน้ำพุที่สัมพัสกับเพลงที่ต้องการให้มีความกลมกลืนที่สุด เป็นจังหวะที่มีอารมณ์ของเพลงเข้าไปประสานงานน้ำพุที่น่าชม        ในการโปรแกรมต้องอาศัยความสามารถ 2 ด้าน. ด้าน แรก ความสามารถทางวิศวกร และความสามารถทางงานศิลป์  ผสมผสานงานที่ออกมาเป็นที่น่าชื่นชม        เทคนิดการควบคุมมีความเฉพาะและซ้บซ้อนเหมือนกันครับ เราต้องทดลองทดสอบ อาศัยประสบการณ์ที่ผ่านงานด้านนี้มา จึงได้งานที่ สวยงาม ลูกค้าและผู้ชม ชื่นชม การออกแบบ, งบประมาณที่สูง , ทำให้ในประเทศไทยเรามีงานแบบนี้ไม่แผร่หลายนัก ผู้ที่ทำงานด้านนี้จึงย...

การออกแบบวงจรควบคุมงาน น้ำพุดนตรี (Design of controlled musical fountain)

รูปภาพ
  การออกแบบวงจรควบคุมงาน น้ำพุดนตรี  " Water   entertainment " (Design of controlled musical fountain) " Water   entertainment "      การออกแบบระบบ น้ำพุดนตรี " Water   entertainment " เป็นการประยุกต์งาน Sound engineers เข้ามาใช้ในงานน้ำพุที่ควบคุมการเปิด-ปิดวาวล์ น้ำพุอุปกรณืที่ใช้ในงานลักษณะนี้มีความเฉพาะและราคาสูงมาก ใช้ในงานควบคุมเวที ,แสง, สี ,เสียง,  การโปรแกรมการเล่นน้ำพุที่สัมพัสกับเพลงที่ต้องการให้มีความกลมกลืนที่สุด เป็นจังหวะที่มีอารมณ์ของเพลงเข้าไปประสานงานน้ำพุที่น่าชม        ในการโปรแกรมต้องอาศัยความสามารถ 2 ด้าน. ด้าน แรก ความสามารถทางวิศวกร และความสามารถทางงานศิลป์  ผสมผสานงานที่ออกมาเป็นที่น่าชื่นชม        เทคนิดการควบคุมมีความเฉพาะและซ้บซ้อนเหมือนกันครับ เราต้องทดลองทดสอบ อาศัยประสบการณ์ที่ผ่านงานด้านนี้มา จึงได้งานที่ สวยงาม ลูกค้าและผู้ชม ชื่นชม การออกแบบ, งบประมาณที่สูง , ทำให้ในประเทศไทยเรามีงานแบบนี้ไม่แผร่หลายนัก ผู้ที่ทำงานด้านนี้จึงย...

ตู้ไฟฟ้าชั่วคร่าว (Temporary Electrical Cabinet)

รูปภาพ
ตู้ไฟฟ้าชั่วคร่าว (Temporary Electrical Cabinet)      ตู้ไฟฟ้าชั่วคร่าว (Temporary Electrical Cabinet)          ในงานก่อสร้างและติดตั้งระบบไฟฟ้าย่อมมีงานไฟฟ้าชั่วคร่าวที่ต้องใช้ระหว่างทำการก่อสร้าง มาตรฐานคสามปลอดภัยในตู้ไฟฟ้าชั่วคร่าวต้องคำนึงถึงให้มากเพราะในงานก่อสร้างเองโอกาสเกิดอุบัติเหตุและอันตรายจะมีสูงหากไม่ให้ความสำคัญ ดังนั้นเจ้าหน้าที่ส่วนงานไฟฟ้าและเจ้าหน้าความปลอดภัยในการทำงานมักจะให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก เช่นกำหนดให้ใช้ตู้ไฟฟ้าชั่คร่าวที่มีคุณภาพ กันน้ำ กันฝน เป็นพาวเวอร์ปลั้กขนาดใหญ่ที่มีความทนทานและปลอดภัยในการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดที่ใช้งานในโครงการต้องเป็นแบบพาวเวอร์ปลั้ก ทั้งหมดมีระบบป้องกันทางไฟ้เพิ่มเติ่ม เป็นต้น

การออกแบบตู้ MDB (Main Distribution Board)

รูปภาพ
                                   การออกแบบตู้ MDB    การออกแบบตู้ MDB  (Main Distribution Board)       ในการออกแบบ Main Distribution Board ต้องคำนึงถึงอุปกรณ์ และขนาด กระแสลัดวงจรที่จะให้สามารถรับได้กรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเพื่อความปลอดภัยในตัวอาคารเองด้วย       ฟังก์ชั่นที่จะใส่เข้าไปคำนึงถึงข้อ มาตรฐานที่ต้องติดตั้งเป็นอย่างน้อย โดยอ้างอิงมาตรฐาน วสท. เป็นอย่างน้อย การส่งตู้ทดสอบ TEST ระบบไฟฟ้าและความปลอดภัยต่างๆ สำหรับตู้ที่ติดตั้งในสถานที่อันตรายต้องมีมาตรฐานการป้องกันการระเบิดทั้งตู้และอุปกรณ์ที่เลือกใช้เช่นกัน       ตำแหน่งติดตั้งตู้ MDB ทั่วไปมักอย่ชั้นล่างของอาคารเนื่องจากน้ำหนักที่มีมากและมีขนาดใหญ่   

การสั่งงานมอเตอร์ด้วย อินเวอร์เตอร์(INVERTOR)

รูปภาพ
การสั่งงานมอเตอร์ด้วย อินเวอร์เตอร์(INVERTOR)    รูป ผังการสั่งงานมอเตอร์ด้วย อินเวอร์เตอร์(INVERTOR) เบื้องต้น สามารถนำไปอธิบายการทำงานและสั่งงานส่วนต่างๆได้ เราจึงควรศึกษาการสั่งงานต่างๆที่ อินเวอร์เตอร์  สามารถทำได้ ซึ่งสอบถามได้จากผู้จำหน่าย เพราะแต่ละรุ่น จะมีความสามารถที่แตกต่างกันไป เลือกใช้ให้เหมาะกับงานและระดับราคาที่สามารถเลือกซื้อได้   จากรูปเป็นตัวอย่างการควบคุมมอเตอร์ที่เรานำเอาตัวนับรอบมอเตอร์มาเป็นจุดประสงค์หลักในการออกแแบบ เพื่อต้องการความเร็วรอบที่ถูกต้อง แม้มอเตอร์จะมีภาระโหลดเปลี่ยนไปนั้นเองครับ ตัวอย่างที่นำมาใช้เช่น รางสั่งวัตถุดิบ รางบรรจุภัณฑ์ มอเตอร์กวนในรายผลิตที่ต้องการความหนึดคงที่ เป็นต้น

ผังวงจรการควบคุมลิฟต์เบื้องต้น

รูปภาพ
ผังวงจรการควบคุมลิฟต์เบื้องต้น    จากผังการควบคุมลิฟต์เบื้องต้น เป็นแบบร่างที่ทำให้เราพอจำเข้าใจระบบการควบคุมในเบื้องต้น ก่อนการออกแบบวงจรการควบคุมลิฟต์ได้ เพราะการออกแบบข้อเงื่อนไขการทำงานจำเป็นต้องทราบข้ั้นตอนการทำงาน อุปกรณ์ที่มีในระบบ ระดับการป้องกันอันตราย ระบบสำรอง จึงนำทั้งหมดไปกำหนดตู้ควบคุม ฟังชั่นก์ต่างๆของตู้ควบคุมอุปกรณ์ในตู้ที่จะมีใช้งาน ให้ตรงกับที่ลูกค้าต้องการ    ทั้งนี้ในการออกแบบมักจะเป็นกับทาง บริษัทที่มีความชำนาญงานเป็นเฉพาะทางเป็นพิเศษ เพราะระบบความปลอดภัยมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งสำหรับงานลิฟต์

ตัวอย่างแบบการวาง LAYOUT โครงสร้าง ลิฟต์ขนของขนาดเล็ก

รูปภาพ
ตัวอย่างแบบการวาง LAYOUT โครงสร้าง ลิฟต์ขนของขนาดเล็ก     แบบข้างต้นเป็นแบบตัวอย่างการเขียนแบบระบุขนาดเพื่อให้ทางหน้างานวางขนาดกำหนดระเอียดส่วนอืื่่นๆต่อได้ เมื่อเราร่างแบบจากคู่มือและรุ่น ขนาด สัดส่วนให้ตรงกับรุ่นติดตั้งเพื่อเจาะจง ลงไปตามขนาดจริง ที่ติดตั้งจริง    หลังจากนั้นเมื่อส่งแบบให้ทางงานโครงสร้างแล้ว งานต่อไปคืองานวางแผนงาน การเข้าทำเนินงานต่างๆ กำหนดระยะเวลาช่วงการทำงานเพื่อ ส่งหน้างานประสานงานโครงสร้างทำงานไปพร้อมกันและสัมพันธ์กัน    มาดูส่วนงานที่เราต้องทำสำหรับผู้ออกแบบในงานไฟฟ้าครับ งานที่เราต้องดูแลในส่วนไฟฟ้านั้นมีตั้งแต่งานเดินสายไฟกำลัง สายไฟควบคุม สายอ่อนใต้ท้องลิฟต์ การติดตั้งตู้ควบคุม การติดตั้งอุปกรณ์ควบคุม สุดท้ายคือการ TEST RUN  ระบบให้สามารถวิ่งได้ตามเป้าที่วางไว้และที่ลูกค้าต้องการ   ในส่วนของแบบวงจรการเดินสายลิฟต์นั้น ค่อนข้างซับซ้อน ยุ้งยาก ในการดูแบบและทำความเข้าใจสักหน่อย จำเป็นต้องมีการฝึกอ่านและประสบการณ์ในการทำงานสายตรงกับวงการนี้อยู่บ้างจึงจะบอกได้ เป็นลักษณธงานเฉพาะ เพราะแต่ละ ยี่ห้อ มักมีจุดที่สาม...

สวิตต์ที่ใช้ควบคุมมอเตอร์แบบต่างๆ

รูปภาพ
สวิตต์ที่ใช้ควบคุมมอเตอร์แบบต่างๆ มีหลากหลายจะยกตัวอย่างดังต่อไปนี้     สวิตช์ปุ่มกด (Push Button Switch) , สวิตช์จำกัดระยะ (Limit switch) , สวิตซ์ควบคุมแรงดัน (Preessure Switch)  , สวิตช์ควบคุมการไหล (Flow switch)  , สวิตช์เลือกการทำงาน (Selector switch )  ,  สวิตช์โยก (drum switch)          การศึกษาการทำงาน ข้อจำกัดการทำงาน เงื่อนไขการใช้งาน รูปแบบที่ใช้งาน ชนิดของต่างละแบบที่นิยมใช้กัน ของสวิตต์ต่างละแบบมีความสำคัญอย่างยิ่งในงานออกแบบควบคุมหากไม่เข้าใจจะไม่สามารถออกแบบปรับใช้งานให้ได้ดี ได้เหมาะสมถูกต้องนั้นยากมาก 

การเริ่มเดินโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรืออินเวอร์เตอร์

รูปภาพ
การเริ่มเดินโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรืออินเวอร์เตอร์ To start moter using electronic devices      การเริ่มเดินโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรืออินเวอร์เตอร์  เพื่อลดกระแสเริ่มเดินของมอเตอร์ โดยให้กระแสที่จ่ายไปมอเตอร์ถูกควบคุมการจ่ายกำลังไฟฟ้าจากการควบคุมของอุปกรณ์กึ่งตัวนำอิเล็กทรอนิกส์ โดยปัจจุบันมีให้เลือกมากมายหลากหลายยี่ห้อและการใช้งานง่ายขึ้น มีฟังชั่นการสั่งงานที่มีให้เลือกหลายแบบให้เหมาะสมกับลักษณะงานที่จะให้มอเตอร์ควบคุมทั้งกระแส ความถี่ แรงบิด และความเร็ว  เราสามาถสอบถามทางผู้จำหน่ายเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะงานที่จำเป็น ระดับราคาที่เหมาะสม ฟังชั่นที่จำเป็นและอุปกรณ์ที่เป็นอุปกรณ์ Option ต่างๆตามลักษณะการนำไปควบคุม มาตรฐานและผู้ผลิตที่เชื่อถือได้เป็นที่ยอมรับในท้องตลาดและวงการอุตสาหกรรม เพราะราคาจะเป็นตัวที่ต้องนำมาคัดสินใจเป็นหลัก เพราะราคายังสูงอยู่เมื่อเทียบกับวิธีการอื่นๆครับ  .............................................................................................................................     To star...

กระแสในวงจรเริ่มเดินแบบสตาร์ท STAR - DELTA และสมการ

รูปภาพ
กระแสในวงจรเริ่มเดินแบบสตาร์ท STAR - DELTA และสมการ                 กระแสในวงจรเริ่มเดินแบบสตาร์ท STAR - DELTA และสมการ ข้างต้นอธอบายถึงการที่เราจ่ายไฟ 380VAC เข้าในวงจรตอนเริ่มเดินแบบ STAR หรือแบบ Y นั้นกระแสจะเท่ากับ กระแสโหลดปกติหารด้วย 1.732  , กระแสทำงานปกติคือเมื่อต่อแบบ Delta นั้นเอง เพราะฉนั้นถ้าเรามีมอเตอร์ในมือสักตัว ที่บอกระดับแรงดันไฟฟ้าที่ป้ายมา และสามารถต่อเริ่มเดินแบบ STAR - DELTA เราสามารถคำนวนแบบประมาณได้จาก เอากระแสที่ป้ายหารด้วย 1.732 ก็จะเป็นกระแสเริ่มเดินที่ขณะต่อแบบ Y นั้นเองครับ แต่เมื่อมอเตอร์เริ่มเดินไปแล้วและวงจรการสั่งงานให้เปลี่ยนไปเป็นการต่อแบบ Delta ก็จะมีกระแสที่เป็นกระแสปกติครับ                นอกจากการเริ่มเดินแบบสตาร์ท STAR - DELTA แล้วยังมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ อีกนะครับ เช่น Soft start , Inverter  เป็นต้นที่มีจุดประสงค์ลดกระแสขณะเริ่มเดินเหมือนกันครับแต่การเริ่มเดินแบบสตาร์ท STAR -...

Concept Single line Diagram (วงจรเส้นเดี่ยว)

รูปภาพ
Concept Single line Diagram (วงจรเส้นเดี่ยว) Concept Single line Diagram  ข้างต้นเป็นตัวอย่างที่คุณสามารถเจอได้ตามแบบไฟฟ้าทั่วไป การฝึกอ่าน Single line Diagram มีประโยชน์ทั่งทางด้านการนำแบบไปใช้หน้างาน,การคิดราคา,และอธิบายการควบคุมการจ่ายกำลังงานไฟฟ้าเบื้องต้นได้ .....................................................................................................           Concept Single line Diagram above is an example that you can come across as an electrical training Read Single line Diagram is useful both to the application site, pricing, and the control of the power electronics basics.

ตัวอย่างวงจรใช้ 3 ขาควบคุมแจ้งสัญญาณ ALARM

รูปภาพ
ตัวอย่างวงจรใช้ 3 ขาควบคุมแจ้งสัญญาณ ALARM (The level circuit is uses a 3 electrode to control the water level )        รูปตัวอย่างวงจรใช้ 3 ขาควบคุมแจ้งสัญญาณ ALARM ระดับน้ำแห้ง (RUN DRY) และระดับน้ำสูงเกิน (OVER LEVEL) ทั้ง 2 ตัวใช้เพื่อป้องกันปั้มน้ำเสียหาย จากน้ำแห้ง และน้ำระดับสูงล้นท่วมเสียหาย เรามาสารถออกแบบนำไปประยุกต์ใช้งานในรูปแบบอื่นๆที่ต้องการได้ ฝึกออกแบบเป็นประจำให้สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขได้อย่างรวดเร็วนะครับ ..........................................................................................................................          The level circuit is uses a 3 electrode to control the water level ALARM (RUN DRY) and the water level is too high (OVER LEVEL) and the second pump is used to prevent water damage and flood damage flood water level. We have designed a number of applications in other forms required. Training is designed to quickly modify it.

ตัวอย่างสัญลักษณ์ เขียนแบบไฟฟ้า

รูปภาพ
ตัวอย่างสัญลักษณ์ เขียนแบบไฟฟ้า An example of the symbol.         จาก ตัวอย่างสัญญาลักษณ์ เขียนแบบไฟฟ้า เราสามารถดูจาก มาตรฐาน DIN ,JIS ,TIS และสามารถสร้างและกำหนดขึ้นมาใหม่แต่ต้องมีตารางแจ้ง สัญลักษณ์ทางไฟฟ้าในแบบเพื่อใช้ตรวจสอบในแบบที่เขียนและอ้างอิงได้ ดังนั้นการกำหนดตารางแจ้งสัญลักษณ์ จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งที่ต้องมีระบุไว้ในแบบ .. ..........................................................................................................................      An example of the symbol.  An example of the symbol. Drawing power diagram. We can see from the standard DIN, JIS, TIS, or can create and set up, but you need have a table. Electrical symbols in order to determine in a written reference. Thus, the symbol table information. It is important to be list in the work for electrician.

วงจรควบคุมการเริ่มเดินแบบ STAR-DELTA และการทำงานของวงจรควบคุม / Control circuit start-up and operation of the STAR-DELTA circuit.

รูปภาพ
วงจรควบคุมการเริ่มเดินแบบ STAR-DELTA และการทำงานของวงจรควบคุม Control circuit start-up and operation of the STAR-DELTA circuit . จากรูป เป็นวงจรควบคุมสั่งงานแมกนีติกส์ จ่ายไฟปั้มแบบเริ่มเดิน สตารท์ STAR-DELTA K1 เป็นเมนจ่ายไฟปั้ม เริ่มเดินช่วงแรกทำงานพร้อมแมกเนติกส์ K2 เป็นชุดที่ต่อวงจรกำลังแบบ STAR เมื่อไฟจ่ายเข้า T1 จะเริ่มนับเวลา 8-15 วินาที T1 จะตัดไฟจ่าย K2 ไปจ่ายคอยล์ แมก K3 ซึ่งต่อวงจรกำลังเป็น DELTA  ส่วน T1 24 Hr  นาฬิกาตั้งเวลาแบบ 24 ชั่วโมงสั่งงานให้ปั้มทำงานในช่วงเวลาที่ต้องการ เช่น ทำงาน 8.00 น. ถึง 18.00 น เป็นต้น        ตัวอย่างวงจรกำลังเทียบกับวงจรควบคุมข้างบน เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นและแสดงการทำงานได้ถูกต้อง การทำงานวงจรถึงไม่ยุ่งยากแต่ก็มีหลายๆคนไม่เข้าใจการทำงานแบบเป็นลำดับขั้น การศึกษาการทำงานให้เข้าใจก็จะทำให้สามารถอธิบายหรือปรับปรุงวงจรที่ดีขึ้นและทำงานได้ตามข้อเงื่อนไขต่างๆ ที่ต้องการออกแบบได้ทุกกรณี  ...........................................................................................................

วงจรควบคุมวาวล์เติมน้ำวัดระดับด้วยสวิตต์อิเล็กโทรด 3 ขา

รูปภาพ
วงจรควบคุมวาวล์เติมน้ำวัดระดับด้วยสวิตต์อิเล็กโทรด 4 ขา วงจรควบคุมวาวล์เติมน้ำวัดระดับด้วยสวิตต์อิเล็กโทรด 4 ขา      รุ่นนี้จะมี 4 อิเล็กโทรดโดยเพิ่มขาที่แจ้งสัญญาณระดับน้ำสูงเกินกว่าปกติเข้ามาด้วย  ในแต่ละรุ่นมีให้เลือกและตัวอย่างการใช้งานมีให้เราหาศึกษาข้อมูลที่ เช่นยี่ห้อ Omron และอื่นๆ  ได้นะครับลองหาคู่มือมีรูปภาพประกอบตัวอย่างการใช้งานที่สามารถเข้าใจได้ง่ายและนำไปประยุกต์ใช้กับการควบคุมของคุณได้นะครับ

การเขียนแบบร่าง วางระบบ กำลงและระบบควบคุบไฟฟ้า

รูปภาพ
การเขียนแบบร่าง วางระบบ กำลงและระบบควบคุบไฟฟ้า                เมื่อออกแบบเรียบร้อย งานต่อไปคือการเขียนแบบวงระบบทั้งส่วนไฟฟ้ากำลัง และ ไฟฟ้าส่วนควบคุม ผู้ออกแบบที่ดีต้องสามารถถ่ายทอดงานที่ตนออกแบบให้ช่างเทคนิดหน้างานอ่านแบบแล้วเข้าใจง่าย สามารถทำงานได้ไม่ผิดพลาด            โปเแกรมที่ใช้ในการเขียนมีหลากหลายโปรแกรมตามพิจารณาเลือกใช้งาน ผู้ออกแบบหลายคนมักออกแบบแต่ไม่ได้เป็นคนเขียนแบบเอง ซึ่งหลากไม่ตรวจทานแบบก่อนมักมีข้อผิดพลาดส่วนผู้ออกแบบที่เขียนแบบเองจะถ่ายทอดได้ดีเข้าใจง่ายกว่าสามารถแก้ไข และปับเปลี่ยนส่วนที่ต้องแก้ไขได้ดี          แต่ทั้งนี้มันขึ้นอยู่กับการฝึกฝนจนชำนาญเจอหลากหลายเงื่อนไข ข้อปัญหาทำให้สามารถมองเห็นปัญหาที่จะเกิดและหลีกเลี่ยงเพื่อไม่ให้แบบที่ออกมาใช้งานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ         ในการเขียนแบบผู้เขียนแบบต้องฝึกการเขียนและการใช้งานสัญลักษณ์ ทั้งสัญลักษณ์งานไฟฟ้า  สัญลักษณ์...

การออกแบบร่างระบบควบคุม CONCEPT CONTROL DIAGRAM

รูปภาพ
         แบบร่างระบบควบคุม CONCEPT CONTROL DIAGRAM           จากรูป คือการนำเงื่อนไขการออกแบบมาทำแบบเค้าโครง การควบคุมเพื่อให้เกิดภาพที่สามารถสือสารออกไปได้ เข้าใจง่ายและเห็นเป็นภาพชัดเจนสามารถอธิบาย ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ และเป็นพื้นฐานการออกแบบระบบควบคุมทุกระบบ ที่สามารถมองง่ายๆ และลงรายละเอียดแต่ละส่วน แต่ละอุปกรณ์เพื่อให้เชื่อมการทำงานได้ตามการออกแบบร่างดังกล่าว ร่วมถึงการหาส่วนประกอบ อุปกรณ์ประกอบ ส่วนสนัยสนุนการทำงานต่างๆ ระดับการทำงาน และทิศทางการสั่งงานได้ดีอีกด้วย ดังนั้นเราควรฝึกที่จะออกแบบร่่างระบบควบคุมตามเงื่อนไขและส่วนประกอบหลักๆที่ควรมี ให้ชำนาญเสียก่อน เมื่อการออกแบบครั้งถัดๆไปเราก็จะสามารถ ประยุกต์ เพิ่มหรือลดส่วนประกอบต่างๆได้อย่างง่ายดาย และรวดเร็วเพราะภาพนั้นๆจะฝังในสมอง และสามารถดึงขึ้นมาใช้เมื่อไรก็ได้ ทำให้ออกแบบงานได้อย่างเชี่ยวชาญและตอบข้อคำถามและข้อจำกัดของวงจรที่ออกแบบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ......................................................................................................