บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2012

เชฟโรเลต เทรลเบลเซอร์ ความร้อนแรง ที่สุดของสมรรถนะ

รูปภาพ
เชฟโรเลต เทรลเบลเซอร์   ราคาเริ่มที่ 1,059,000 - 1,489,000 บาท เชฟโรเลต เทรลเบลเซอร์ ที่สุดของสมรรถนะ และความสะดวกสบายเหนือชั้นของรถอเนกประสงค์ PPV สไตล์อเมริกัน เครื่องยนต์ดูราแมกซ์ ดีเซล ทนทุกที่ แรงทุกทาง ประหยัดทุกการใช้งาน บุกเบิกทุกเส้นทาง ด้วยเครื่องยนต์ ดีเซล ดูราแมกซ์ ลิขสิทธิ์เฉพาะของเชฟโรเลต HSA (Hill Start Assist) ระบบป้องกันการไหลของรถเมื่อขึ้นทางชัน ในขณะที่รถหยุดบนทางลาดชัด ระบบ HAS จะสั่งการโดยอัตโนมัติ เพื่อป้องกันรถยนต์ไม่ให้ไหลลงจากทางลาดชันในขณะออกตัว เพื่อให้การขับขี่ปลอดภัยยิ่งขึ้น    

TOYOTA FORTUNER อำนาจแห่งขุมพลัง

รูปภาพ
   ราคา toyota fortuner ราคา เดือนมิถุนายน 55 ราคา toyota fortuner 3.0V 4WD TRD Sportivo A/T 1,499,000 บาท ราคา toyota fortuner 3.0V Navi 4WD A/T 1,499,000 บาท ราคา toyota fortuner 3.0V 4WD A/T 1,399,000 บาท บาท ราคา toyota fortuner 3.0V 2WD A/T 1,324,000 บาท ราคา toyota fortuner 3.0V 2WD A/T (50th) 1,379,000 บาท ราคา toyota fortuner 2.7V2WD A/T 1,229,000 บาท ราคา โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ 2.5G M/T 1,069,000 บาท    1. สีขาวมุก White Pearl  เพิ่ม 12,000 บาท และมีเฉพาะในรุ่น 3.0V    2. สีขาว Super White II ] และมีเฉพาะในรุ่น 2.7V และ 2.5G   3. สำหรับรุ่นฉลองครบรอบ 50 ปี มีเฉพาะสี White Pearl และ Light Purple Mica Metallic  (สีพิเศษ)แถมแอพพลิเคชั่น smart G-BOOK version D.A.   4. สำหรับรุ่น TRD Sportivo มีเฉพาะสี White Pearl  และ Blace Mica ราคาโดนใจใครหลายๆคน เก็บตังไปปล่อยพลังออกมาชมกันได้ครับ

ลิฟต์ขนของขนาดเล็ก

รูปภาพ
    ลิฟต์ขนของขนาดเล็ก     วันนี้มาคุยเรื่อง  ลิฟต์ขนของขนาดเล็กกันครับท่านที่เคยออกแบบระบบควบคุมทั่วๆไปพอมาเจองานลิฟต์ก็เล่นเอามึดไปเลยเหมือนกัน เท่าที่ได้ทำงานด้านนี้การพัฒนาระบบควบคุมลิฟต์ก้าวไปไกลมากๆ จนผมว่าแต่ละยี่ห้อแถบจะอ้างอิงอะไรกันไม่ได้เลย ผลก็ไปตกที่ผู้เป็นเจ้าของหรือเจ้าบ้านนั้นละครับ เพราะเป็นคนรับภาระไป ธรรมดาครับการแข่งขันมันมีทั้งการตลาด และเทคโนโลียีครับ ทีนี้ผมว่าถามผมแนะนำให้ใช้ที่จำเป็นผมครับ เวลาซ่อมก็ง่ายและไม่ถูกเอาเปรียบครับ อย่างว่าครับเจ้าไหนก็ต้องไปเจ้านั้นครับคิดเอาเองละกัน     เอาละมาดูเทคโลยีเก่าแก่กันครับ ที่เรียกว่าขนของนั้นมันออกแบบง่ายครับระบบไม่ซับซ้อนครับอะไหล่เทียบเคียงได้ทั่วในตลาดครับ  แค่มีปุ่มกดธรรมดา มีไฟบอกชั้นธรรมดามาติดตามปุ่มที่จดชั้นนั้นละครับ แค่ใสของ ปิดประตู กดชั้นที่จะให้ไป แล้วรอครับมันจะวิ่งไปขั้นที่กดครับ เวลาทำงาน ถ้าวิ่งอยู่ครับไม่สนใจโลกภายนอกครับกดให้ตายก็ไม่หยุด หมายความว่าทำงานทีละรอบการกดปุ่มครับ     ง่ายไหมครับ ราคาย่อมเยาว์ สิบปีก่อนนิยมสุดๆ ปัจจุบันเป็นระบบที่เรียกว่า ไมโครคอนโทรเลอร์ครับ และคอมพิวเตอร์คอนโทรเลอร์เ

ระบบ DMX สำหรับงานไฟ LED เปลี่ยนสีได้ RGB LIGHT

รูปภาพ
ระบบ DMX สำหรับงานไฟ LED เปลี่ยนสีได้ RGB LIGHT             ระบบ DMX สำหรับงานไฟ LED เปลี่ยนสีได้ RGB LIGHT          หลายคนคงเคยได้ใช้ หรือพบเห็นมาบ้างครับ แต่ไม่ใช่ของใหม่ครับเป็นระบบที่เรียกว่า DMX น่าตาประมาณรูปด้านบนแต่อีกหลายแบบก็มีให้ใช้งานกันครับ หลักการของมันง่ายมากครับคุณมีไฟ LED ดวงหนึ่งมียาน สี่เส้น สายไฟจ่ายสีแดง  , สายไฟจ่ายสีเขียว  , สายไฟจ่ายสีน้ำเงิน และสายไฟเมนรวมอีกหนึ่งเส้น ปกติไฟ LED จ่ายไฟเข้าไปหลอดก็ติดครับแต่ตัวควบคุม DMX จะเป็นตัวคุมบอดร์ไฟจ่ายหลอดไฟ LED ทั้งสามสีครับให้จ่ายไฟออกมาแต่เส้นสี ที่ไม่เท่ากันมากน้อยและทำให้ได้สีที่ออกมามากถึง  256 สีหรือมากกว่าเพราะมันมีการรีไฟได้ด้วยครับ จฃ     ในงานน้ำพุ จังหวะ น้ำพุดนตรี " Water   entertainment " ก็ได้นำไฟระบบนี้มาใช้ครับก็สวยงามครับผสมกับการทำงานของระบบน้ำพุ ที่อาจเป็นระบบเดียวกันหรือต่างกันออกไปครับ หรือบ้างระบบอาจเป็นการควบคุมไฟจากระบบอื่นๆครับ      อย่างไรก็ดีการผ่านระบบงานด้านนี้มาก่อนจำเป็นอย่างมากเพราะเป็นงานที่จำเพาะครับ ต้องลองผิดลองถูกพอสมควร ก็ทดลองกันดูนำครับ เรียนออกแบบไ

ตู้ควบคุมไฟฟ้า (Cabinet) และการเลือกใช้ตู้ควบคุมไฟฟ้า

รูปภาพ
 ตู้ควบคุมไฟฟ้า (Cabinet)           ตู้ควบคุมงานไฟฟ้าส่วนใหญ่แบ่งออกเป็นดังนี้ 1 .ตู้ธรรมดา ใช้ภายในอาคาร 2. ตู้กันน้ำ  ใช้ภายในอาคารหรือนอกอาคาร 3. ตู้กันน้ำฝา 2 ชั้น  ใช้ภายในอาคารหรือนอกอาคาร 4. ตู้กันน้ำฝา 2 ชั้นมีกระจก ใช้ภายในอาคารหรือนอกอาคาร       การเลือใช้ตู้แบบกันน้ำ มีระดับการป้องกันที่เรียกกันว่า IP โดยมีรายละเอียดในมาตรฐาน IEC60529 (JIS C 0920)       IP คือสัญลักษณ์ที่แสดงระดับของโครงสร้างการป้องกันของตู้อุปกรณ์ตามที่ถูกกำหนดโดยมาตรฐานของ IEC  คุณสามารถหาข้อมูลได้ทั่วไปจากผู้ผลิต ทั้งนี้ขึ้นอยู้กับการนำไปใช้งานและข้อกำหนดต่างๆ ที่ต้องใช้     ตู้ควบคุมยังแบ่งตามวัสดุที่นำมาทำตู้ได้เป็น 1.ตู้เหล็กธรรมดา 2.ตู้เหล็ก ชุบกัลวาไนท์ 3.ตู้แสตนเลส 4.ตู้พลาสติก   จากข้างต้น เป็นการแบ่งแยกตามชนิดวสดุของตู้ที่มาผลิตโดยทั่วไปถ้าเป็นโลหะ เราต้องระบุเรื่อง ความหนา และ สีที่ใช้ด้วยในการสั่งซื้อ ในท้องตลาดเราสามารถหาตู้ดังกล่าวมาได้โดยทั่วจะผลิตมาเปน ขนาด กว้าง ยาว และลึก ที่เป็น "ตู้แบบมาตรฐาน" ของแต่ละยี่ห้อ กรณีที่เราต้องการขนาดที่ต่างออกไป เราต้องเรียกว่

หลอดไฟแสดงสถานะหน้าตู้ควบคุม (STATUS LAMPS หรือ PILOT LAMPS)

รูปภาพ
หลอดไฟแสดงสถานะหน้าตู้ควบคุม (STATUS LAMPS หรือ PILOT LAMPS) หลอดไฟแสดงสถานะหน้าตู้ควบคุม (STATUS LAMPS)      หลอดไฟแสดงสถานะหน้าตู้ควบคุม (STATUS LAMPS หรือ PILOT LAMPS)  เราน่าจะเคยใช้งานหลอดไฟแสดงสถานะมาบ้างแล้ว จะเห็นว่าที่น่าตู้ควบคุมนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมี สถานะบอกให้ผู้ใช้งานระบบทราบการทำงานของระบบ ดังนั้นอุปกรณ์ที่บอกสถานะที่น่าสนใจวันนี้ คือ  STATUS LAMPS หรือ PILOT LAMPS ที่ปัจจุบันมีให้เลือกใช้มากมายหลายแบบ การนำไปใช้ก็แค่เลือกพิกัดแรงดันและพิกัดกระแสที่จะเลือกใช้เท่านั้น สถานะที่ใช้ในทั่วๆไป เช่น แสดงการทำงาน , การหยุดทำงาน ,การเกิด Alram ,การเกิด Over load , การเปิด หรือ ปิด ระบบ, ไฟแสดงเฟสระบบไฟฟ้า,และอื่นๆ         การเลือกสีมีการกำหนดใช้งานโดยทั่วไป 1.สีเขียว เป็น การทำงาน 2.สีแดง เป็น การหยุดทำงาน 3.สีเหลืองหรือส้ม เป็น การแจ้งสัญาณเตือนความผิดพลาด 4.สีขาว เป็น ไฟ 3 เฟส R S T    จากข้างเป็นการเลือกใช้สีของ PILOT LAMPS เบื้องต้นแต่ทังนี้จะมีการกำหนดการเลือกช้สี ตามโครงการ แต่ละที่ ก็ได้เช่น การกำหนดเป็นมาตรฐานของโรงแรม ก. เป็นต้น    ไฟแสดงสถานะ

การเลือกใช้ อุปกรณ์สวิตต์ (Switch) ให้เหมาะสมกับงานควบคุมไฟฟ้า

รูปภาพ
การเลือกใช้ อุปกรณ์สวิตต์ (Switch) ให้เหมาะสมกับงานควบคุมไฟฟ้า       สวิตต์ รูปแบบต่างๆ   จากรูป เป็นสวิตต์ แบบต่างๆ ที่เรานักออกแบบวงจรควบคุมควรรู้จัก เพื่อให้สามารถนำมาใช้งานได้หลากหลายรูปแบบ              การพิจารณาเลือกใช้สวิตต์แต่ละแบบ    1. เราอาศัยหลักการทำงานของสวิตต์ที่เราต้องก่อนเป็นหลักเพื่อใช้สอดคล้องกับการทำงานของวงจรที่เราออกแบบ    2. ชนิดที่เราจะใช้เป็น อะไร ใช้จุดไหน เช่น สวิตต์มือ สวิตต์เท้า สวิตต์ประตู เมือเรารู้ตำแหน่งติดตั้งเราก็พอจะเลือกได้คร่าวๆ    3. พิกัด แรงดัน/กระแสที่จะใช้ (V/A)ตรงนี้มีความสำคัญนะครับเพราะมักถูกมองข้าม เหตุผลคือเรามักคิดว่าน่าจะใช้งานได้แต่ที่จริงแล้วเราควรพิจารณาร่วมกับลักษณะงานที่จะนำไปใช้ ยกตัวอย่าง พิกัดแรงดันที่จะใช้เป็น 24 VDC สวิตต์ที่ใช้จ่ายกระแสให้ โหลด 10 แอมป์ สวิตต์เป็นแบบ ไมโครสวิตต์ ก็ไม่ควรใช้แล้วครับเพราะกำลังกระแสสูง ดังนั้นต้องเลือกเป็น POWER Switch จึงจะเหมาะสมครับ ในทางเดียวกัน วงจรพิกัดแรงดันที่จะใช้เป็น 24 VDC สวิตต์ที่ใช้จ่ายกระแสให้ โหลดรีเลย์ควบคุมวงจร ใช้เป็นสวิตต์ ลูกล้อหน้าคอนแทค ต่อวงจรเรียงกันไป

POWER SUPLY และการเลือกใช้ POWER SUPLY ในงานควบคุมไฟฟ้า

รูปภาพ
POWER SUPLY และการเลือกใช้ POWER SUPLY  ในงานควบคุมไฟฟ้า        จากรูป เป็นข้อเงื่อนไขที่ผู้ออกแบบวงจรต้องเจอแน่นอน เป็นเงื่อนไขการหาอุปกรณ์มาจ่ายกำลังไฟในวงจรที่จะออกแบบ POWER SUPLY และการเลือกใช้ POWER SUPLY  ในงานควบคุมไฟฟ้า จึงเป็นส่วนหนึ่งที่ผู้ออกแบบระบบควบคุมต้องเรียนรู้ทำความเข้าใจ ตลอดจนรู้จักอุปกรณ์แต่ละ ชนิด แต่ละแบบ ข้อดี ข้อเสีย คุณภาพ ประสิทธิภาพ และสุดท้ายคือราคา โดย POWER SUPPLY มีตั้งแต่แบบ ง่ายๆ เป็นวงจร วงจรเรียงกระแสด้วยเพาเวอร์ได โอด ( Rectifier circuit with Power diode)   หรือเลือกเป็น สวิทช์ชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย (Switching Power Supply) ที่แปลงไฟกระแสสลับไปเป็นกระแสตรง AC TO DC  ซึ่งมีหลากหลายในท้องตลาด          หรืออุปกรณ์พวก อินเวอร์เตอร์ DC TO DC  หรือ ชาร์จเจอร์  อุปกรณ์ชาร์จประจุไฟฟ้าเข้าไปเก็บที่แบตเตอร์รี่          เราควรมีข้อมูลศึกษาแต่ละอุปกรณ์ที่ จะใช้ แต่ทั้งนี้ส่วนใหญ่แล้วอุปกรณ์ จ่ายกำลังไฟฟ้ามักเป็นตัวเลือกทีหลังเพราะเราต้องเลือกเมนอุปกรณ์ในตู้ควบคุมหลักๆก่อนแล้วจึงมาดูว่าแต่ตัวใช้กำลังไฟฟ้าที่ต้องการเป็นแบบไหนอย่างไรอีกทีค