บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2013

การต่อลงดิน และวงจรที่ห้ามต่อลงดิน

รูปภาพ
การต่อลงดิน และวงจรที่ห้ามต่อลงดิน     การต่อลงดินมีความสำคัญมาก     หลักการต่อลงดินและข้อกำหนดตามมาตรฐาน วสท.นั้น   ได้อธิบายไว้โดยละเอียดและมีตารางสรูปการใช้สายกรานด์ สายต่อลงดิน ต่างๆ เช่น อาจจะดูจากขนาดสายตัวนำประธาน , ดูจากขนาดกระแสขนาดเครื่องป้องกันของวงจรนั้นๆ  และข้อเงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติตามที่ถูกต้อง   , แต่ที่สำคัญที่หลายๆคนไม่ทราบคือ ส่วนที่ถูกยกเว้นไม่ให้มีการต่อลงดิน ทั้งนี้อาจจะสังสัยแต่กลับเป็นการระบุไว้เพราะคำนึงถึงความปลอดภัยนั้นเองส่วนเหตุผลนั้นต้องสอบถามที่ วสท. เองนะครับหลักการและเหตุผลคืออะไรจึงกำหนดมาเช่นนี้

ตัวนำประธาน สายป้อน วงจรย่อย

รูปภาพ
ตัวนำประธาน สายป้อน วงจรย่อย      การหาขนาดสายไฟฟ้าที่ใช้ เป็นสายไฟตัวนำประธาน สายป้อน และวงจรย่อยต่างๆ     รูปแสดงการออกแบบขนาดสายประธาน สายป้อน      การคำนวนหาสายประธาน การใช้ตัวประกอบ ดีมานด์แฟกเตอร์ ตัวลดต่างๆ ที่นำใช้คำนวนหาเพื่อลดขนาดลงตามความเหมาะสมและต้นทุนที่เหมาะสม เพราะสายประธาน สายป้อน มีขนาดใหญ่และค่าใช่จ่ายต้นทุนสูงที่สุด ทั้งยังมีผลต่อขนาด KVA ของหม้อแปลงที่จะต้องซื้อมาติดตั้งด้วย

ที่ว่างเพื่อปฏิบัติงานสำหรับบริภัณฑ์ไฟฟ้า

รูปภาพ
ที่ว่างเพื่อปฏิบัติงานสำหรับบริภัณฑ์ไฟฟ้า     ในการติดตั้งระบบไฟฟ้าไม่ว่าจะเป็นตู้ไฟฟ้าต่างๆ ต้องมีพื้นที่ว่างที่จะต้องมีไว้เพื่อสำหรับเข้าไปทำงานทั้งการปฏิบัติงานหรือซ่อมแซมตู้ ซึ่งพื้นที่ที่ว่าจะมีการกำหนดมาตรฐานการมีพื้นที่ว่างเพื่อปฏิบัติงานสำหรับบริภัณฑ์ไฟฟ้า   สามารถไปหาข้อมูลพื้นที่เพื่อปฏิบัติงานสำหรับบริภัณฑ์ไฟฟ้า และข้อเงื่อนไขได้ครับที่ มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า ของ วสท.ครับ

การต่อทางไฟฟ้า(Electrical Connection) ตามนิยาม วสท.

รูปภาพ
 การต่อทางไฟฟ้า(Electrical Connection)   การต่อสายไฟฟ้าการมาตรฐาน วสท.ก็ระบุนิยามและวิธีการในการทำงานไว้ให้สำหรับวิศวกรรมไฟฟ้าได้เรียนรู้และปฏิบัติตามมาตรฐานที่ถูกต้อง    โดยให้นิยามว่าต้องใช้อุปกรณืที่เหมาะสมและวิธีการที่เหมาะสม -ขั้วต่อสาย(Terminals) -การต่อสาย (Splices)     การต่อสายทั้ง 2 นิยามได้กำหนดนิยามการทำงานไว้เพื่อให้เกิดมาตรฐานที่ถูกต้อง เรียนออกแบบไฟฟ้าอาคารแบบออนไลน์    เรียนเขียนแบบไฟฟ้าออนไลน์  เรียนออกแบบตู้ควบคุมไฟฟ้าออนไลน์ ได้ที่นี่ วิศวกรไฟฟ้า ช่างไฟฟ้า เขียนแบบไฟฟ้าสำหรับพักอาศัยอาคาร การสอนการเริ่มการเขียนแบบจากการเขียนโปรแกรม Auto cad ครับด้านงานสร้างสรรค์งานไฟฟ้าต่างๆ ของช่างไฟฟ้า วิศวกรไฟฟ้า ไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าควบคุม PLC     การการเขียนแบบระบบเดินสายไฟจากตู้ไฟ จากเริ่มต้นเลยครับมาฝึกการเขียนแบบงานเดินสายไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าแสงสว่าง  เพื่อปูพื้นฐานการประกอบและการออกแบบไฟฟ้าครับ    การลอกแบบอุปกณ์ไฟฟ้า เบรกเกอร์ ฟิวส์ ตู้โหลด ในบ้าน ทำอย่างไร   คลิกที่นี่    การใช้งานคำสั่งในส่วนนี้ ทิปเทคนิคในการเขียนโปรแกรมทำอย่างไร     เขียนแบบไฟฟ้าสำหรับพักอาศัยอ

การออกแบบวงจร MAIN POWER DIAGRAM

รูปภาพ
รูป Single Line Diagram ตัวอย่าง         ตัวอย่าง การออกแบบวงจร MAIN POWER DIAGRAM ที่ต้องอาศัยการคำนวนจากตารางโหลดย่อยมาเป็นตารางโหลดรวม และจึงนำค่ากำลังไฟฟ้าที่ได้มาหาขนาดมิเตอร์ หรือขนาดหม้อแปลงที่จะขอจากการไฟฟ้าหรือซื้อหม้อแปลงตามขนาดที่ต้องการ  การหาขนาดกระแสโหลดการหาขนาดสายไฟ การคำนวนหา MCB และ CB ย่อย การเลือกขนาดท่อร้อยสายไฟฟ้้า ต่างๆให้ไปหาข้อมูลในมาตรฐาน  วสท. นะครับ มาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า มีข้อกำหนดต่างๆที่ต้องปฎิบัติและกำหนดต่างๆเป็น มาตรฐานขั้นต้นที่ วิศวกรรมต้องรู้และเข้าใจเป็นอย่างน้อย เรียนออกแบบไฟฟ้าอาคารแบบออนไลน์    เรียนเขียนแบบไฟฟ้าออนไลน์  เรียนออกแบบตู้ควบคุมไฟฟ้าออนไลน์ ได้ที่นี่ วิศวกรไฟฟ้า ช่างไฟฟ้า เขียนแบบไฟฟ้าสำหรับพักอาศัยอาคาร การสอนการเริ่มการเขียนแบบจากการเขียนโปรแกรม Auto cad ครับด้านงานสร้างสรรค์งานไฟฟ้าต่างๆ ของช่างไฟฟ้า วิศวกรไฟฟ้า ไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าควบคุม PLC     การการเขียนแบบระบบเดินสายไฟจากตู้ไฟ จากเริ่มต้นเลยครับมาฝึกการเขียนแบบงานเดินสายไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าแสงสว่าง  เพื่อปูพื้นฐานการประกอบและการออกแบบไฟฟ้าครับ    การลอกแ